Slide Background
เรียนปิดงบการเงิน
มุ่งเน้นสอนวิธีการทำบัญชีให้สมบูรณ์ในช่วงสิ้นงวดบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงินที่ถูกต้องและแสดงภาพสะท้อนสถานะทางการเงินของธุรกิจได้อย่างชัดเจน
10,700.-

ปกติ 15,000 (ราคารวมเอกสารการสอน ค่าอาหารกลางวัน ทุกอย่างแล้ว )

เรียนปิดงบการเงินกับเรา คุณจะได้รับอะไรบ้าง?

พื้นฐานการบัญชี
ทำความเข้าใจหลักการบัญชีเบื้องต้นที่จำเป็นต่อการปิดงบการเงิน
ขั้นตอนการปิดบัญชี
เรียนรู้ขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การตรวจสอบยอดบัญชี การปรับปรุงบัญชี จนถึงการจัดทำงบการเงิน
รายการปรับปรุงบัญชีที่สำคัญ
ศึกษารายการปรับปรุงบัญชีที่พบเจอบ่อย เช่น ค่าเสื่อมราคา สินค้าคงเหลือ ฯลฯ
การจัดทำงบการเงินทั้ง 3 ฉบับ
เรียนรู้การจัดทำงบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด
การวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น
เรียนรู้การตีความหมายตัวเลขในงบการเงินเพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ
กฎหมายและมาตรฐานบัญชี
ทำความเข้าใจกฎหมายและมาตรฐานบัญชีที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตรปิดงบการเงิน เหมาะสำหรับใคร?...

เราพร้อมที่จะให้ความรู้และทักษะที่คุณต้องการ เพื่อให้คุณสามารถปิดงบการเงินได้อย่างมั่นใจและถูกต้อง

นักบัญชี

ที่ต้องการพัฒนาทักษะและความรู้ให้ก้าวหน้า

เจ้าของธุรกิจ

ที่ต้องการบริหารจัดการธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้ที่สนใจด้านการบัญชี

ที่ต้องการเรียนรู้เพื่อประกอบอาชีพหรือใช้ในชีวิตประจำวัน

หลักสูตรปิดงบการเงิน เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นสอนวิธีการทำบัญชีให้สมบูรณ์ในช่วงสิ้นงวดบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงินที่ถูกต้องและแสดงภาพสะท้อนสถานะทางการเงินของธุรกิจได้อย่างชัดเจน
  • ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับงบการเงิน : ทำความเข้าใจความหมายและวัตถุประสงค์ของงบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด
  • ขั้นตอนการปิดบัญชี : เรียนรู้ขั้นตอนต่างๆ ในการปิดบัญชี ตั้งแต่การตรวจสอบยอดบัญชี การปรับปรุงบัญชี การจัดทำงบทดลอง จนถึงการจัดทำงบการเงิน
  • รายการปรับปรุงบัญชี : ศึกษารายการปรับปรุงบัญชีที่สำคัญ เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายที่ยังไม่ได้ชำระ รายได้ที่ยังไม่ได้รับ เป็นต้น
  • การจัดทำงบทดลอง : เรียนรู้วิธีการจัดทำงบทดลอง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของยอดบัญชีก่อนการจัดทำงบการเงิน
  • การจัดทำงบการเงิน : เรียนรู้วิธีการจัดทำงบการเงินทั้ง 3 ฉบับ ได้แก่ งบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด
  • การวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น : เรียนรู้วิธีการวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ/li>
  • กฎหมายและมาตรฐานบัญชี : เรียนรู้กฎหมายและมาตรฐานบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการปิดบัญชีและการจัดทำงบการเงิน

ฝึกปฏิบัติพร้อมอธิบายทฤษฎี

  • อธิบายการ Set up โปรแกรมสำเร็จรูปบัญชีโดยทั่วไป
  • นำยอดในงบทดลองในวันที่ 1 บันทึกเป็นยอดยกมาในโปรแกรมสำเร็จรูป บนคอมพิวเตอร์
  • บันทึกบัญชี ทั้งระบบ เน้นปิดงบการเงินบนโปรแกรม เพื่อปิดงบการเงินครึ่งปี
  • การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ/บัญชีสินค้า (สต็อคการ์ด) ครึ่งปี
  • การจัดทำทะเบียนสินทรัพย์และคิดค่าเสื่อมราคา
  • การจัดทำรายงานมูลค่าคงเหลือสินค้าปลายงวด
  • การจัดทำงบต้นทุนขาย (ครึ่งปี) - ออกงบทดลอง (ครึ่งปี)
  • หลักการจัดทำประมาณการกลางปี และการกรอกภงด. 51
  • การปรับปรุงบัญชี ตามมาตรา 67 ทวิ และ 67 ตรี (ครึ่งปี)
  • หลักการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีกลางปี ตามมาตรา 65 ทวิ 65 ตรี
  • เน้นบันทึกบัญชี โดยมีรายการที่เป็นประเด็นภาษีเพื่อให้เข้าใจในการบันทึกบัญชีจริง(ในโปรแกรมสำเร็จรูป)
  • จัดทำรายงานสินค้าคงเหลือ(ปลายปี) ตัวอย่างรายงานการตรวจนับสินค้า
  • การจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร -อธิบาย การจัดทำรายละเอียดประกอบงบการเงินสิ้นปี (พร้อมให้ไฟล์ตัวอย่างกลับไปใช้งานได้)
  • ออกงบทดลอง จัดทำกระดาษทำการรายการปิดบัญชีสิ้นปี
  • การคำนวณภาษีนิติบุคคล (โดยมีเอกสารคำนวณประกอบ) นำไปใช้งานได้จริง
  • การปรับปรุงกำไรทางบัญชีให้เป็นกำไรทางภาษีตาม มาตรา 65 ทวิ และ 65 ตรี (ภาคปฏิบัติ)
  • ออกงบการเงินตามรูปแบบมาตรฐาน ฉบับใหม่ (สำหรับธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ)
  • การจัดเตรียมเอกสารส่งผู้สอบบัญชี - วิธีการกรอก ภงด. 50 อย่างถูกต้อง หลักเกณฑ์ ระยะเวลา และวิธีการยื่นแบบ ภงด. 50 ต่อกรมสรรพากร
  • หลักเกณฑ์ ระยะเวลา คำเตือน การยื่นแบบ สบช.3 และงบการเงินต่อกระทรวงพาณิชย์
  • ฝึกปฏิบัติ การกรอกแบบ สบช. 3 จากงบการเงินในวันที่ 3
  • การจัดทำ บอจ. 5
  • ตัวอย่างจดหมาย เชิญประชุม และรายงานประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น
  • ความรู้ภาษีเงินได้นิติบุคคล (เน้นการเสียภาษีจากฐานกำไรสุทธิ และมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี(ภาค ทฤษฎี)) รายจ่ายต้องห้ามต่าง ๆ
  • ความแตกต่างระหว่างเช่าซื้อกับลิสซิ่ง(เน้นรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน) รวมทั้งการ บันทึก บัญชีที่ถูกต้อง และทางด้านภาษี
  • ความรู้ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายที่ผู้ทำบัญชีควรทราบ - ความรู้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ผู้ทำบัญชีควรทราบ
  • ความรู้ภาษีบุคคลธรรมดา สิทธิการลดหย่อน
  • ความรู้ภาษีธุรกิจเฉพาะ (เน้นดอกเบี้ยรับ สำหรับกิจการกระทำการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์)
  • การนำเสนองบการเงินต่อผู้บริหาร (พร้อมให้ไฟล์ตัวอย่าง)
  • การวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น (ในเชิงบริหาร)
  • ปรึกษาอื่นๆ